วิถีคนเลี้ยงหอยอ่าวบ้านดอน

" ผลการเก็บข้อมูลวิถีคนเลี้ยงหอยอ่าวบ้านดอน กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก "


ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 60 รองลงมาเป็น เพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 40


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 60 รองลงมาเป็น เพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 40


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาอยู่ในระดับประถมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 40 รองลงมาระดับการศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น คิดเป็นร้อยละ 36 และมีระดับการศึกษา อยู่ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย คิดเป็นร้อยละ 24


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีรายได้เฉลี่ยเดือนละ 10,001 – 25,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 48 รองลงมามีรายได้เฉลี่ยเดือนละ 25,001 – 50,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 44 และมีรายได้เฉลี่ยเดือนละ น้อยกว่า 10,000 บาท, มากกว่า 100,001 คิดเป็นร้อยละ 4


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่พักอาศัยอยู่บ้านพัก คิดเป็นร้อยละ 96 รองลงมาพักอาศัยอยู่ในฟาร์ม/สถานที่เพาะเลี้ยงหอยทะเลในอ่าวบ้านดอน คิดเป็นร้อยละ 4


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีภูมิลำเนาเดิมอยู่ชุมชนบ้านปากกะแดะ คิดเป็นร้อยละ 60 รองลงมามีภูมิลำเนาเดิมอยู่ชุมชนเขาถ่าน คิดเป็นร้อยละ 16 และมีภูมิลำเนาเดิมอยู่ชุมชนพุมเรียง คิดเป็นร้อยละ 8 ตามลำดับ


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีประสบการณ์เพาะเลี้ยงหอย 10 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 68 รองลงมามีประสบการณ์เพาะเลี้ยงหอย 5-6 ปี คิดเป็นร้อยละ 12 และมีประสบการณ์เพาะเลี้ยงหอย 9 – 10 ปี คิดเป็นร้อยละ 8 ตามลำดับ


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เลี้ยงหอยนางรม คิดเป็นร้อยละ 56 รองลงมาเลี้ยงหอยแครง คิดเป็นร้อยละ 40 และเลี้ยงหอยแมลงภู่ คิดเป็นร้อยละ 4


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เลือกลูกหอยทะเลมาเพาะเลี้ยงด้วยวิธีดักจับลูกหอยทะเลโดยวิธีธรรมชาติ คิดเป็นร้อยละ 60 รองลงมาเลือกลูกหอยทะเลมาเพาะเลี้ยงด้วยวิธีซื้อลูกหอยทะเลจากหลายแหล่ง คิดเป็นร้อยละ 40


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เลือกสายพันธุ์หอยมาเพาะเลี้ยง คือ หอยนางรม คิดเป็นร้อยละ 56 รองลงมาเลือกสายพันธุ์หอยมาเพาะเลี้ยง คือ หอยแครง คิดเป็นร้อยละ 40 และเลือกสายพันธุ์หอยมาเพาะเลี้ยง คือ หอยแมลงภู่ คิดเป็นร้อยละ 4


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เพาะเลี้ยงหอยในอ่าวบ้านดอนในรูปแบบ/ประเภทเลี้ยงแบบปักหลัก (หลักไม้ หรือแท่งซีเมนต์) คิดเป็นร้อยละ 68 รองลงมาเพาะเลี้ยงหอยในอ่าวบ้านดอนในรูปแบบ/ประเภทเลี้ยงแบบหว่านกับทะเล คิดเป็นร้อยละ 20 และเพาะเลี้ยงหอยในอ่าวบ้านดอนในรูปแบบ/ประเภทเลี้ยงบนก้อนหิน เลี้ยงแบบแขวน และเลี้ยงแบบหว่านบนพื้นโคลน คิดเป็นร้อยละ 4

• (1) หอยแครง โปรดระบุ อยู่ในบริเวณการไหลเวียนถ่ายเทของกระแสน้ำไหลผ่านในระดับที่เหมาะสมน้ำไม่ลึกและตื้นเกินไป ต้องเป็นพื้นที่ดินโคลนห่างจากโรงงานอุตสาหกรรม
• (2) หอยแมลงภู่ โปรดระบุ อยู่ในพื้นที่ไม่ตื่นและไม่เป็นดินเลนมากเกินไป
• (3) หอยนางรม โปรดระบุ ต้องมีดินโคลนที่เหมาะสมน้ำไม่ลึกเกินไป ควรเป็นแหล่งที่มีกำบังคลื่นลมไม่เหม็นสาบและต้องห่างจากป่าชายเลน 1.5 กิโลเมตร
• (4) อื่น ๆ โปรดระบุ       

• (1) เลี้ยงแบบแขวน โปรดระบุจำนวน    28,800   ตารางเมตร/ไร่ (พื้นที่รวมทั้งหมด)
• (2) เลี้ยงแบบปักหลัก โปรดระบุจำนวน    66,571   ตารางเมตร/ไร่ (พื้นที่รวมทั้งหมด)
• (3) เลี้ยงแบบหว่านกับพื้นทะเล โปรดระบุจำนวน    61,333   ตารางเมตร/ไร่ (พื้นที่รวมทั้งหมด)
• (4) เลี้ยงแบบหว่านเลี้ยงในบ่อดิน โปรดระบุจำนวน     -    ตารางเมตร/ไร่ (พื้นที่รวมทั้งหมด)
• (5) เลี้ยงในกระบะไม้ โปรดระบุจำนวน     -    ตารางเมตร/ไร่ (พื้นที่รวมทั้งหมด)
• (6) เลี้ยงบนก้อนหิน โปรดระบุจำนวน    100   ตารางเมตร/ไร่ (พื้นที่รวมทั้งหมด)
• (7) อื่น ๆ โปรดระบุจำนวน    เลี้ยงในบ่อเลี้ยงดินโคลน 1,600   ตารางเมตร/ไร่ (พื้นที่รวมทั้งหมด)

• (1) หอยแครง จำนวน    12,000    ตัน อัตราการปล่อย    -    กิโลกรัม หรือตัน/ไร่
• (2) หอยแมลงภู่ จำนวน    -    ตัน อัตราการปล่อย    -    กิโลกรัม หรือตัน/ไร่
• (3) หอยนางรม จำนวน    1    ตัน อัตราการปล่อย    -    กิโลกรัม หรือตัน/ไร่
• (4) อื่น ๆ โปรดระบุจำนวน    -    ตัน อัตราการปล่อย    -    กิโลกรัม หรือตัน/ไร่

• (1) หอยแครง จำนวน    30    ตัน
• (2) หอยแมลงภู่ จำนวน    20    ตัน
• (3) หอยนางรม จำนวน    3,910    ตัน
• (4) อื่น ๆ โปรดระบุจำนวน    -    ตัน

• (1) หอยแครง โปรดระบุวิธีการ    ใช้เรือยนต์คราด    
• (2) หอยแมลงภู่ โปรดระบุวิธีการ    ดำน้ำเก็บหรืองมเก็บในช่วงน้ำน้อย    
• (3) หอยนางรม โปรดระบุวิธีการ    ดำน้ำงมเก็บหรือใช้กระดานถีบในช่วงน้ำน้อย    
• (4) อื่น ๆ โปรดระบุ โปรดระบุวิธีการ    -    

• (1) หอยแครง     2,362,500    บาท
• (2) หอยแมลงภู่     250,000    บาท
• (3) หอยนางรม     908,314    บาท
• (4) อื่น ๆ โปรดระบุ    -    บาท


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ใช้แหล่งเงินทุนในการประกอบการเพาะเลี้ยงหอยในอ่าวบ้านดอนด้วยเงินทุนส่วนตัว คิดเป็นร้อยละ 96 รองลงมาใช้แหล่งเงินทุนในการประกอบการเพาะเลี้ยงหอยในอ่าวบ้านดอนด้วยกองทุนเพื่อสังคม คิดเป็นร้อยละ 4


จากผลการสำรวจพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีสาเหตุการประกอบอาชีพเพาะเลี้ยงหอยในอ่าวบ้านดอนด้วยสาเหตุรายได้ดี คิดเป็นร้อยละ 64 รองลงมามีสาเหตุการประกอบอาชีพเพาะเลี้ยงหอยในอ่าวบ้านดอนด้วยสาเหตุทำตามผู้ประกอบการรายอื่น คิดเป็นร้อยละ 24 และมีสาเหตุการประกอบอาชีพเพาะเลี้ยงหอย ในอ่าวบ้านดอนด้วยสาเหตุเป็นอาชีพจากรุ่นสู่รุ่น คิดเป็นร้อยละ 8 ตามลำดับ

ข้อเสนอแนะ

อยากได้รับคำแนะนำในด้านองค์ความรู้เรื่องการเพิ่มประมาณการเลี้ยงหอยและอยากให้ภาครัฐช่วยดูแลเรื่องการซื้อหอยจากนอกพื้นที่


ข้อมูลสภาพทั่วไปของปัญหาการเพาะเลี้ยงหอยทะเลในอ่าวบ้านดอน

1. ด้านสถานที่เพาะเลี้ยงหอยทะเลในอ่าวบ้านดอน

1.1 สภาพทั่วไปของ “ปัญหาคุณภาพน้ำ” ที่ใช้เพาะเลี้ยงหอยทะเล : น้ำเป็นกรดทำให้เกิดน้ำเน่าเสียและเป็นเมือก ซึ่งในช่วงมรสุมทำให้เกิดน้ำไหลหลากจนทำให้มีความเค็มต่ำ จึงทำให้หอยตายเยอะ

1.2 สภาพทั่วไปของ “ปัญหาคุณภาพดิน หรือวัสดุที่ใช้เป็นบ่อ/ภาชนะ” เพาะเลี้ยงหอยทะเล : คุณภาพหรือกลิ่นดินที่มีกลิ่นเหม็นเน่าที่เกิดจากใบไม้ที่ร่วงลงบนดินทำให้มีกลิ่นที่ไม่เป็นธรรมชาติ

1.3 สภาพทั่วไปของ “ปัญหาคุณภาพสาธารณูปโภค” เพื่ออำนวยความสะดวกในการเพาะเลี้ยงหอยทะเล เช่น ท่าเรือ ถนน ไฟฟ้า สัญญาณโทรศัพท์ การรักษาพยาบาลผู้เพาะเลี้ยงหอยทะเล เป็นต้น : ขาดถนน และท่าเรือ และการรักษาพยาบาลให้กับผู้เพาะเลี้ยงหอย

2. ด้านรูปแบบของสถานที่เพาะเลี้ยงหอยทะเลในอ่าวบ้านดอน

2.1 สภาพทั่วไปของ “ปัญหารูปแบบของสถานที่” ที่ใช้เพาะเลี้ยงหอยทะเล

2.2 สภาพทั่วไปของ “ปัญหาขนาดพื้นที่ ความลึกของสถานที่ และทิศทางลม” ที่ใช้เพาะเลี้ยงหอยทะเล : หากมีมรสุมคลื่นลมแรงจะไม่สามารถเก็บหอยได้

3. ด้านการเลือกสายพันธุ์และโรคของหอยทะเลในอ่าวบ้านดอน

3.1 สภาพทั่วไปของ “ปัญหาคุณภาพสายพันธุ์หอยทะเล” ที่ใช้เพาะเลี้ยง

3.2 สภาพทั่วไปของ “ปัญหาราคาซื่อ-ขาย จากสายพันธุ์หอยทะเล” ที่ใช้เพาะเลี้ยง : มีกลุ่มพ่อค้าคนกลางรับหอยมาจากประเทศเพื่อนบ้านนำเข้ามาในพื้นที่ จึงทำให้หอยในพื้นที่ราคาตกต่ำ

3.3 สภาพทั่วไปของ “ปัญหาโรค การป้องกัน และการรักษา” หอยทะเล : มลพิษทางน้ำจากโรงงานและนากุ้ง

4. ด้านการเลือกใช้อาหารเพาะเลี้ยงหอยทะเลในอ่าวบ้านดอน

4.1 สภาพทั่วไปของ “ปัญหาคุณภาพอาหารและการเลือกใช้อาหาร” ที่ใช้เพาะเลี้ยงหอยทะเล

4.2 สภาพทั่วไปของ “ปัญหาวิธีการให้อาหาร” ที่ใช้เพาะเลี้ยงหอยทะเล

5. ด้านระยะเวลาการเพาะเลี้ยงหอยทะเลในอ่าวบ้านดอน

5.1 สภาพทั่วไปของ “ปัญหาระยะเวลาการเพาะเลี้ยงหอยทะเล” : ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ

5.2 สภาพทั่วไปของ “ปัญหาการจับและการคัดขนาดหอยทะเล” : หากคลื่นลมแรงหรือปริมาณน้ำทะเลสูงก็จะงดเก็บหอย

5.3 สภาพทั่วไปของ “ปัญหาช่วงเวลาการจำหน่ายหอยทะเล” : มีปัญหาในส่วนของมีการนำหอยจากต่างประเทศเข้ามาจึงทำให้ในพื้นที่ราคาต่ำ


ข้อเสนอแนะ

อยากได้รับคำแนะนำในด้านองค์ความรู้เรื่องการเพิ่มประมาณการเลี้ยงหอยและอยากให้ภาครัฐช่วยดูแลเรื่องการซื้อหอยจากนอกพื้นที่